ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2019

กรด เบส

กรด - เบส คืออะไร กรด เบส ในชีวิตประจำวัน ( Acid Base in Everyday Life) สารประกอบจำพวกกรด เบส มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่างมาก ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจว่า กรด เบส คืออะไรอย่างง่ายๆ สารละลายกรด  คือสารละลายที่มีรสเปรี้ยว เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง หรือทำปฏิกิริยากับโลหะได้ แก๊ส H 2 และ เกลือ สารละลายเบส  คือสารละลายที่มีรสขม เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน หรือมีลักษณะลื่นๆ นิยามของกรด-เบส Arrhenius Concept กรด   คือ สารประกอบที่มี H และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ H + หรือ H 3O + เบส  คือ สารประกอบที่มี OH และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ OH - ข้อจำกัดของทฤษฎีนี้คือ สารประกอบต้องละลายได้ในน้ำ และไม่สามารถอธิบายได้ว่า ทำไมสารประกอบบางชนิดเช่น NH 3 จึงเป็นเบส Bronsted-Lowry Concept กรด   คือ สารที่สามารถให้โปรตอน ( proton donor)แก่สารอื่น เบส  คือ สารที่สามารถรับโปรตอน ( proton acceptor)จากสารอื่น ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสจึงเป็นการถ่ายเทโปรตอนจากกรดไปยังเบสเช่น แอมโมเนียละลายในน้ำ NH 3(aq) + H 2O (1)   NH 4 + (aq) + OH - (aq) b

สารและสมบัติของสาร

สารและสมบัติของสาร   สสาร  (  Matter )   คือ สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีตัวตน ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ อาจมองเห็นหรือไม่เห็นก็ได้ เช่น อากาศ เป็นต้น นักวิทยาศาสตร์เรียกสสารที่รู้จักแล้วว่า    สาร สาร  (  Substance )    คือ สสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอนซึ่งก็คือเนื้อของสสารนั่นเอง สมบัติของสาร    มี 2 ประเภท คือ 1.    สมบัติกายภาพ  (  Physical Property )   หมายถึง สมบัติที่สังเกตได้จากลักษณะภายนอก และ เกี่ยวกับวิธีการทางฟิสิกส์ เช่น ความหนาแน่น  ,  จุดเดือด  ,  จุดหลอมเหลว 2.    สมบัติทางเคมี  (  Chemistry Property )  หมายถึง สมบัติที่เกิดขึ้นจากการทำปฏิกิริยาเคมี เช่น การติดไฟ  ,  การเป็นสนิม  ,  ความเป็น   กรด - เบส ของสาร   การจัดจำแนกสาร   สามารถจำแนกออกเป็น  4  กรณี ได้แก่    1.  การใช้สถานะเป็นเกณฑ์   แบ่งออกเป็น  3  กลุ่ม คือ           -   สถานะที่เป็นของแข็ง (  Solid )  จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรคงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดติดกัน เช่น ด่างทับทิม (  KMnO4 ) ,  ทองแดง (  Cu )  

ตารางธาตุ

ตารางธาตุ (Periodic table of elements)          ตารางธาตุ  (Periodic table of elements)  คือ ตารางที่นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมธาตุต่างๆ ไว้เป็นหมวดหมู่ตามลักษณะ และคุณสมบัติที่เหมือนกัน เพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาในแต่ละส่วนของตารางธาตุ โดย คาบ ( Period ) เป็นการจัดแถวของธาตุแนวราบ   ส่วนหมู่ ( Group ) เป็นการจัดแถวของธาตุในแนวดิ่ง  ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ภาพตารางธาตุปัจจุบัน ธาตุหมู่หลัก  มีทั้งหมด 8 หมู่ 7 คาบ โดยธาตุที่อยู่ด้านซ้ายของเส้นขั้นบันได จะเป็นโลหะ (Metal) ส่วนทางด้านขวาเป็นอโลหะ (Non metal) ส่วนธาตุที่อยู่ติดกับเส้นขั้นบันไดนั้น จะเป็นกึ่งโลหะ (Metalloid) ธาตุทรานซิชัน  มีทั้งหมด 8 หมู่ แต่หมู่ 8 มีทั้งหมด 3 หมู่ย่อย จึงมีธาตุต่างๆ รวม 10 หมู่ และมีทั้งหมด 4 คาบ ธาตุอินเนอร์ทรานซิชัน มี 2คาบโดยมีชื่อเฉพาะเรียกคาบแรกว่าคาบแลนทาไนด์ (Lanthanide series) และเรียกคาบที่สองว่า คาบแอกทิไนด์ (Actinide series)  เพราะเป็นคาบที่อยู่ต่อมาจาก 57La (Lanthanum) และ 89Ac (Actinium) ตามลำดับ คาบละ 14 ตัวรวมเป็น 28 ตัว แหล่งอ้างอิง  http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_

พันธะเคมี

ชนิดของพันธะเคมี พันธะภายในโมเลกุล (intramolecular bond) พันธะระหว่างโมเลกุล (intermolecular bond) พันธะโคเวเลนต์ (covalent bonds) พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bonds) พันธะไอออนิก (ionic bonds) แรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals forces) พันธะโลหะ ( metallic bonds) แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล - ไอออน (molecule-ion attractions) พันธะไอออนิก พันธะไอออนิก ( Ionic bond )  หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่างกันมาก อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีน้อยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีมาก และทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ อะตอมครบ 8 (octat rule ) กลายเป็นไอออนบวก และไอออนลบตามลำดับ เกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ และเกิดเป็นโมเลกุลขึ้น เช่น การเกิดสารประกอบ NaCl ดังภาพ สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1.  มีขั้ว  เพราะสารประกอบไอออนิกไม่ได้เกิดขึ้นเป็นโมเลกุลเดี่ยว แต่จะเป็นของแข็งซึ่งประกอบด้วยไอออนจำนวนมาก ซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้า 2.  ไม่นำไฟฟ้าเมื่ออยู่ในสภาพของแข็ง แต

สูตรเคมี

สูตรเคมี  (chemical formulas) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนโมเลกุลของสารที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์ของธาตุ และจำนวนอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบโมเลกุลของสารนั้นๆ ประเภทสูตรเคมี สารบัญเรื่อง  [ แสดง ] 1. สูตรโมเลกุล  (molecular formulas) คือ สูตรเคมีที่แสดงถึงสัญลักษณ์ของธาตุ และจำนวนอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสารนั้นใน 1 โมเลกุล เช่น 2. สูตรอย่างง่าย  หรือ  สูตรเอมพิริคัล  (empirical formulas) คือ สูตรเคมีที่แสดงถึงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ นิยมใช้เขียนแสดงสูตรของสารประกอบไอออนิกที่ไม่มีสูตรโมเลกุลที่แน่นอน 3. สูตรโครงสร้าง  (structural formulas) คือ สูตรเคมีที่แสดงถึงองค์ประกอบของธาตุ และจำนวนอะตอมของธาตุที่มีการจัดเรียงตัวในลักษณะต่างๆ สามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ 3.1 สูตรโครงสร้างในระนาบ 2 มิติ  แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ – สูตรโครงสร้างแบบเส้น (dash formulas) เป็นสูตรโครงสร้างที่ใช้วิธีการเขียนเส้นตรงแทนอิเล็กตรอนจำนวน 1 คู่ - สูตรโครงสร้างแบบจุดอิเล็กตรอน (electron-dot formulas) หรือ สูตรลิวอิส ที่เสนอโดยลิวอิส (G. N. Lewis) โดยการเขียนจุด

ผู้จัดทำ

ผู้จัดทำ ชื่อ นายพัชรพล  เต็งสมเพชร  ม.6/7  เลขที่ 12  โรงเรียน ฤทธิยวรรณาลัย  ชื่อเล่น คอม  อายุ 17 บ้านเลขที่ 181/284 หมู่บ้านสินทรัพย์นคร เขตบางเขน แขวงอนุสาวรีย์ กรุงเทพมหานคร 10220   IG: ___com.pdf___ ID: com.patcharaphon Facebook: ค.คอม.ไง เบอร์โทร: 0948499397 อาชีพในอนาคต วิศวะกร วิชาที่ชอบเรียน พละ อาหารที่ชอบ ราเมง เกรดเฉลี่ยเทอมล่าสุด 3.03 งานอดิเรก ตีแบด ความสามารถพิเศษ ว่ายนำ้ Homepage

การนำเสนอข้อมูล

Homepage Homepage

Homepage

ศาตร์พระราชา การนำเสนอข้อมูล ผู้จัดทำ     งานกลุ่ม   ม.6/7 รุ่น 72 ปี 62 โลโก้วงกลมตัวอักษรโค้ง    งานสร้างตัวอักษรเป็นภาพ   โลโก้สินค้า          สูตรเคมี                                                                   พันธะเคมี           ตารางธาตุ                                                                             สารและสมบัติของสาร                                       กรด เบส